ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุริยวิถี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: fa:دایرةالبروج; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
ย้อน 1 การแก้ไขของ 122.155.38.11 (พูดคุย) ไปยังการแก้ไขของ Phyblas ด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ ลิงก์แก้ความกำกวม
 
(ไม่แสดง 36 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 25 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''สุริยวิถี''' คือ [[ระนาบ (คณิตศาสตร์)|ระนาบทางเรขาคณิต]]ที่เป็นระนาบ[[วงโคจร]]ของ[[โลก]] [[ดาวเคราะห์]]ส่วนใหญ่ใน[[ระบบสุริยะ]]มีระนาบวงโคจรใกล้เคียงกับระนาบนี้ เมื่อมองจากโลก สุริยวิถีเป็น[[วงกลมใหญ่]]บน[[ทรงกลมฟ้า]]ที่แทนเส้นทางการเคลื่อนที่ของ[[ดวงอาทิตย์]]ตลอดทั้งปีท่ามกลาง[[ดาวฤกษ์]]ที่เป็นฉากหลัง ระนาบนี้ทำมุม[[ความเอียง|เอียง]]กับ[[เส้นศูนย์สูตรฟ้า]]เป็นมุมประมาณ 23.5° ซึ่งเป็นผลจาก[[ความเอียงของแกน|ความเอียงของแกนหมุน]]ของโลก [[ระนาบวงโคจร]]ของ[[ดวงจันทร์]]เอียงกับระนาบสุริยวิถีเป็นมุมประมาณ 5°
'''สุริยวิถี''' ({{lang-en|Ecliptic}}) คือ [[ระนาบ (คณิตศาสตร์)|ระนาบทางเรขาคณิต]]ที่เป็นระนาบ[[วงโคจร]]ของ[[โลก]] [[ดาวเคราะห์]]ส่วนใหญ่ใน[[ระบบสุริยะ]]มีระนาบวงโคจรใกล้เคียงกับระนาบนี้ เมื่อมองจากโลก สุริยวิถีเป็น[[วงกลมใหญ่]]บน[[ทรงกลมท้องฟ้า]]ที่แทนเส้นทางการเคลื่อนที่ของ[[ดวงอาทิตย์]]ตลอดทั้งปีท่ามกลาง[[ดาวฤกษ์]]ที่เป็นฉากหลัง ระนาบนี้ทำมุม[[ความเอียง|เอียง]]กับ[[เส้นศูนย์สูตรฟ้า]]เป็นมุมประมาณ 23.5° ซึ่งเป็นผลจาก[[ความเอียงของแกน|ความเอียงของแกนหมุน]]ของโลก [[ระนาบวงโคจร]]ของ[[ดวงจันทร์]]เอียงกับระนาบสุริยวิถีเป็นมุมประมาณ 5°


เนื่องจากดวงอาทิตย์ปรากฏเคลื่อนที่ไปตามสุริยวิถีเป็นมุม 360 [[องศา]] ในระยะเวลาประมาณ 365.25 [[วัน]] หรือ 1 [[ปี]] ดวงอาทิตย์จึงเคลื่อนที่ไปด้วยอัตราประมาณ 1° ต่อวัน โดยมีทิศทางจาก[[ทิศตะวันตก]]ไปยัง[[ทิศตะวันออก]] ตรงข้ามกับการหมุนของ[[ทรงกลมฟ้า]]
เนื่องจากดวงอาทิตย์ปรากฏเคลื่อนที่ไปตามสุริยวิถีเป็นมุม 360 [[องศา]] ในระยะเวลาประมาณ 365.25 [[วัน]] หรือ 1 [[ปี]] ดวงอาทิตย์จึงเคลื่อนที่ไปด้วยอัตราประมาณ 1° ต่อวัน โดยมีทิศทางจาก[[ทิศตะวันตก]]ไปยัง[[ทิศตะวันออก]] ตรงข้ามกับการหมุนของ[[ทรงกลมท้องฟ้า]]


สุริยวิถีกับเส้นศูนย์สูตรฟ้าตัดกันที่จุด 2 จุด ซึ่งอยู่ตรงข้ามกัน คือ จุด[[วสันตวิษุวัต]]และจุด[[ศารทวิษุวัต]] เมื่อดวงอาทิตย์เคลื่อนมาถึง 2 ตำแหน่งนี้ กลางวันกับกลางคืนจะยาวนานเท่ากันสำหรับผู้สังเกตบนผิวโลก (อย่างน้อยก็ในทางทฤษฎี เพราะมีปัจจัยอื่นที่ส่งผลต่อความยาวนานของกลางวัน-กลางคืน เช่น บรรยากาศโลก)
สุริยวิถีกับเส้นศูนย์สูตรฟ้าตัดกันที่จุด 2 จุด ซึ่งอยู่ตรงข้ามกัน คือ จุด[[วสันตวิษุวัต]]และจุด[[ศารทวิษุวัต]] เมื่อดวงอาทิตย์เคลื่อนมาถึง 2 ตำแหน่งนี้ กลางวันกับกลางคืนจะยาวนานเท่ากันสำหรับผู้สังเกตบนผิวโลก (อย่างน้อยก็ในทางทฤษฎี เพราะมีปัจจัยอื่นที่ส่งผลต่อความยาวนานของกลางวัน-กลางคืน เช่น บรรยากาศโลก)
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* ระวี ภาวิไล, [http://guru.sanook.com/encyclopedia/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8%B3%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B8%95%E0%B8%B3%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%96%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2/ ระบบกำหนดตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า] จาก สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 1
* ระวี ภาวิไล, [http://guru.sanook.com/encyclopedia/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8%B3%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B8%95%E0%B8%B3%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%96%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2/ ระบบกำหนดตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า] จาก สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 1
{{โครงดาราศาสตร์}}


[[หมวดหมู่:ดาราศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:ดาราศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:ระบบพิกัดทรงกลมฟ้า]]
[[หมวดหมู่:ระบบพิกัดทรงกลมท้องฟ้า]]
{{โครงดาราศาสตร์}}

[[af:Sonnebaan]]
[[als:Ekliptik]]
[[ar:مسار الشمس]]
[[ast:Eclíptica]]
[[bg:Еклиптика]]
[[bs:Ekliptika]]
[[ca:Eclíptica]]
[[cs:Ekliptika]]
[[da:Ekliptika]]
[[de:Ekliptik]]
[[dsb:Ekliptika]]
[[el:Εκλειπτική]]
[[en:Ecliptic]]
[[eo:Ekliptiko]]
[[es:Eclíptica]]
[[et:Ekliptika]]
[[eu:Ekliptika]]
[[fa:دایرةالبروج]]
[[fi:Ekliptika]]
[[fr:Écliptique]]
[[gl:Eclíptica]]
[[he:מישור המילקה]]
[[hr:Ekliptika]]
[[hsb:Ekliptika]]
[[hu:Ekliptika]]
[[id:Ekliptika]]
[[io:Ekliptiko]]
[[is:Sólbaugur]]
[[it:Eclittica]]
[[ja:黄道]]
[[kn:ಕ್ರಾಂತಿವೃತ್ತ]]
[[ko:황도]]
[[lb:Ekliptik]]
[[lt:Ekliptika]]
[[nl:Ecliptica (astronomie)]]
[[nn:Ekliptikken]]
[[no:Ekliptikken]]
[[oc:Ecliptica]]
[[pl:Ekliptyka]]
[[pt:Eclíptica]]
[[ro:Ecliptică]]
[[ru:Эклиптика]]
[[simple:Ecliptic]]
[[sk:Ekliptika]]
[[sl:Ekliptika]]
[[sr:Еклиптика]]
[[sv:Ekliptikan]]
[[tr:Tutulum]]
[[uk:Екліптика]]
[[vi:Mặt phẳng hoàng đạo]]
[[zh:黄道]]
[[zh-yue:黃道]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 12:31, 6 สิงหาคม 2567

สุริยวิถี (อังกฤษ: Ecliptic) คือ ระนาบทางเรขาคณิตที่เป็นระนาบวงโคจรของโลก ดาวเคราะห์ส่วนใหญ่ในระบบสุริยะมีระนาบวงโคจรใกล้เคียงกับระนาบนี้ เมื่อมองจากโลก สุริยวิถีเป็นวงกลมใหญ่บนทรงกลมท้องฟ้าที่แทนเส้นทางการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย์ตลอดทั้งปีท่ามกลางดาวฤกษ์ที่เป็นฉากหลัง ระนาบนี้ทำมุมเอียงกับเส้นศูนย์สูตรฟ้าเป็นมุมประมาณ 23.5° ซึ่งเป็นผลจากความเอียงของแกนหมุนของโลก ระนาบวงโคจรของดวงจันทร์เอียงกับระนาบสุริยวิถีเป็นมุมประมาณ 5°

เนื่องจากดวงอาทิตย์ปรากฏเคลื่อนที่ไปตามสุริยวิถีเป็นมุม 360 องศา ในระยะเวลาประมาณ 365.25 วัน หรือ 1 ปี ดวงอาทิตย์จึงเคลื่อนที่ไปด้วยอัตราประมาณ 1° ต่อวัน โดยมีทิศทางจากทิศตะวันตกไปยังทิศตะวันออก ตรงข้ามกับการหมุนของทรงกลมท้องฟ้า

สุริยวิถีกับเส้นศูนย์สูตรฟ้าตัดกันที่จุด 2 จุด ซึ่งอยู่ตรงข้ามกัน คือ จุดวสันตวิษุวัตและจุดศารทวิษุวัต เมื่อดวงอาทิตย์เคลื่อนมาถึง 2 ตำแหน่งนี้ กลางวันกับกลางคืนจะยาวนานเท่ากันสำหรับผู้สังเกตบนผิวโลก (อย่างน้อยก็ในทางทฤษฎี เพราะมีปัจจัยอื่นที่ส่งผลต่อความยาวนานของกลางวัน-กลางคืน เช่น บรรยากาศโลก)

จุดที่สุริยวิถีอยู่ห่างจากเส้นศูนย์สูตรฟ้ามากที่สุดขึ้นไปทางเหนือ เรียกว่า จุดครีษมายัน และลงไปทางใต้เรียกว่า จุดเหมายัน หากดวงจันทร์ผ่านแนวสุริยวิถีขณะจันทร์เพ็ญหรือจันทร์ดับ จะมีโอกาสเกิดอุปราคาขึ้นได้

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]